หลักการและเหตุผล
ข้าวเป็นอาหารหลักของมนุษย์ วิกฤตข้าวไม่มั่นคง และไม่ปลอดภัย ทำอย่างไรกับโจทย์ที่ท้าทายนี้ เพื่อให้ได้คำตอบใช้พื้นที่และต้นทุนอย่างจำกัด แต่ให้ได้ผลผลิตสูง จึงเป็นที่มาของโครงการปลูกข้าว เมล็ดละหม้อ กอละเกวียน
เป้าหมาย
๑. เพื่อใช้พันธุ์ข้าว ๑ เมล็ด ได้ผลผลิต ๑ หม้อ
๒. เพื่อใช้พันธุ์ข้าว
๑ กอ ได้ผลผลิต ๑ เกวียน (๑ ตัน)
แนวคิด
๑. ใช้ทฤษฎี AWD (Alternate Wetting and Drying)
เปียกสลับแห้ง
๑. ใช้ทฤษฎี AWD (Alternate Wetting and Drying)
เปียกสลับแห้ง
๒.
ใช้ทฤษฎี SRI (System of Rice Intensitification)
ปลูกข้าวต้นเดียว
ปลูกข้าวต้นเดียว
๓. ใช้กฎแก้ว ๓
ประการของดิน ในการเตรียมดิน
ขั้นตอน
๑. เลือกพื้นที่ปลูกข้าว จะเป็นพื้นที่ไร่ หรือพื้นที่นา
ที่สามารถควบคุมน้ำได้
๑. เลือกพื้นที่ปลูกข้าว จะเป็นพื้นที่ไร่ หรือพื้นที่นา
ที่สามารถควบคุมน้ำได้
๒. หมักดินทำปุ๋ยหมักชีวภาพอัดเมตร(ความกว้าง)
หนา ๒๕ ซม. ด้วยเชื้อจุลินทรีย์ชีวภาพ
ไตรโคเดอร์มา ตามกฎแก้ว ๓ ประการของดิน
(อินทรียวัตถุ ๘๐% + ดินร่วน๒๐% + น้ำหมักชีวภาพ)
หนา ๒๕ ซม. ด้วยเชื้อจุลินทรีย์ชีวภาพ
ไตรโคเดอร์มา ตามกฎแก้ว ๓ ประการของดิน
(อินทรียวัตถุ ๘๐% + ดินร่วน๒๐% + น้ำหมักชีวภาพ)
อัดปุ๋ยหมักในแบบพิมพ์ล้อยางรถยนต์
ไม่ต้องไถ
ไม่ต้องคราด ไม่ต้องทำเทือกนาหรือปั่นดิน
ไม่ต้องคราด ไม่ต้องทำเทือกนาหรือปั่นดิน
๓.
วางระบบน้ำมินิสปริงเกอร์ ตั้ง Timer
ให้น้ำและปุ๋ยน้ำแบบอัตโนมัติ
ให้น้ำและปุ๋ยน้ำแบบอัตโนมัติ
๔.
ปลูกข้าว ๑ เมล็ด ห่างกัน ๑ เมตร
ทั้งระหว่างแถว และระหว่างต้น
๑ ไร่ใช้เมล็ดพันธุ์ข้าว ๑,๖๐๐ เมล็ดทั้งระหว่างแถว และระหว่างต้น