ภาพกองปุ๋ยหมัก แบบห่อหมกดินติดแอร์ |
ประกอบด้วยสิ่งที่หาได้ง่าย ดังนี้
1. C=Carbon 80% คือ ซากสิ่งมีชีวิต ได้แก่ ใบไม้ เศษหญ้า
2. S=Soil 10% คือ สิ่งไม่มีชีวิต ได้แก่ ดินร่วนซุย
3. E=Enzyme 10% คือ สิ่งมีชีวิต ใช้น้ำหมักจุลินทรีย์ชีวภาพ
ใช้เป็นฐานของห่วงโซ่อาหาร
4. A=A
ถ้าสนใจรายละเอียดให้ดูคลิป วิดีโอนี้ครับ
เป็นทฤษฎี(ทิฏฐิ ในภาษาบาลี) หรือความเห็น ดังนี้ : เป็นสมการด้านความสัมพันธ์ก
สูตรการหมักดิน หรือปรับโครงสร้างดิน คือ E = D (c80+s10+e10) ดังนี้
1. c = carbon คือ ธาตุคาร์บอนจากส
2. s = soil คือ สิ่งที่ไม่มีชีวิต
3. e = enzyme คือตัวการสำคัญที่ท
ผมขอประกาศว่า "ทฤษฎีนี้ยิ่งใหญ่มาก มันเป็นความอยู่รอดของมวลมน
ลงชื่อ กมล พรหมมาก ผู้ค้นพบทฤษฎี
หลักการทางฟิสิกส์ หรือกายภาพ หรือกฎธรรมชาติของโลก
โลกของเราประกอบด้วยของแข็ง ของเหลว และก๊าซหรืออากาศ
จากองค์ประกอบวัตถุโลก ๓ สถานะนี้ เราควรคำนึงถึงและเชื่อมโยงต่อหลักการกสิกรรมของเราด้วย นั่นคือการจัดทำปุ๋ยแบบธรรมชาติิหรือไร้สารพิษ เราต้องดึงเอาทั้ง ๓ ส่วนนี้มาประกอบกันให้ลงตัวอย่างพอเหมาะพอดีกับพืชด้วย
องค์ประกอบของพืชที่เป็นธาตุหลักสำคัญคือธาตุไนโตรเจน ประมาณ ๘๐%
องค์ประกอบของมวลอากาศชั้นบรรยากาศโทรโปสเฟียร์ที่อยู่ติดกับผิวโลก ก็มีธาตุไนโตรเจนประมาณ ๘๐% เช่นกัน
ดังนั้นโจทย์ คือ ทำอย่างไรเราจะดึงหรือตรึงไนโตร จากอากาศลงสู่พื้นดินได้
จากผลการทดลองพบว่า :
๑.ใช้หลักการให้น้ำแบบมินิสปริงเกอร์ ก็จะสามารถตรึงไนโนเจนลงสู่ผิวดินได้
๒.นำอินทรีย์วัตถุธาตุที่เป็นคาร์บอนมาเป็นตัวตรึงไนโตรเจนจากอากาศ ก็ได้อีกทางหนึ่งเช่นกัน ได้แก่ จากผงถ่านไม้ แกลบดำ หรือจากใบไม้ กิ่งไม้ หญ้า
อีกหลักการหนึ่งที่ต้องทำความเข้าใจ คือ พืชเมื่อสังเคราะห์แสงแล้วจะได้น้ำตาลและแป้ง เป็นอาหารสะสมไว้
แป้งและน้ำตาลก็คือธาตุคาร์บอนนั่นเอง
ดังนั้นเราควรมองบรรยากาศที่อยู่รอบๆตัวเรา ให้เห็นเป็นธาตุไนโตรเจน และมองเห็นหญ้า ใบไม้ กิ่งไม้ ให้เห็นเป็นธาตุคาร์บอน และให้นำธาตุทั้งสองส่วนนี้มาประกอบกันเป็นปุ๋ยให้กับพืช
สรุป คือ เรามาช่วยกันเอาอากาศที่มีอยู่โดยธรรมชาติรอบๆตัวเรา นำมาทำปุ๋ยให้พืชกันเถอะ ซึ่งเป็นคำตอบสุดท้าย ที่เข้ากับหลักการเศรษฐกิจแบบพอเพียง
เรียน ถึงพี่น้องชาวกสิกรรมที่มีปัญหาน้ำท่วมพื้นที่กสิกรรม สวนผลไม้
ผมขอเสนอแนะวิธีปฏิบัติต่อต้นไม้ยืนต้น ขณะน้ำท่วมและหลังน้ำลดแล้ว
๑. หลีกเลี่ยงการเดินลุยสวน หากจำเป็นอย่าเดินเหยียบย่ำรากต้นไม้
๒. ขณะน้ำท่วมขัง พืชดูดอาหารจากพื้นดินไม่ได้ ให้ฉีดฮอร์โมนหรือปุ๋ยทางใบ ได้แก่ น้ำหมักจุลินทรีย์ ประเภทบำรุงต้น ใบ หรือน้ำแม่ ที่ได้จากการหมักยอด ใบ พืชสีเขียว หรือจะซื้อในท้องตลาด เช่น ปุ๋ยน้ำชีวภาพชนิดปุ๋ยเขียว ผลิตโดยปูนทีพีไอ
๓. เมื่อน้ำลดแห้งแล้ว ให้ฉีดพ่นปุ๋ยน้ำจุลินทรีย์ หรือผสมน้ำราดรอบๆ โคนต้นห่างโคนต้นประมาณปลายทรงพุ่มของกิ่งใบ
๒. ขณะน้ำท่วมขัง พืชดูดอาหารจากพื้นดินไม่ได้ ให้ฉีดฮอร์โมนหรือปุ๋ยทางใบ ได้แก่ น้ำหมักจุลินทรีย์ ประเภทบำรุงต้น ใบ หรือน้ำแม่ ที่ได้จากการหมักยอด ใบ พืชสีเขียว หรือจะซื้อในท้องตลาด เช่น ปุ๋ยน้ำชีวภาพชนิดปุ๋ยเขียว ผลิตโดยปูนทีพีไอ
๓. เมื่อน้ำลดแห้งแล้ว ให้ฉีดพ่นปุ๋ยน้ำจุลินทรีย์ หรือผสมน้ำราดรอบๆ โคนต้นห่างโคนต้นประมาณปลายทรงพุ่มของกิ่งใบ
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น